top of page

กรณีศึกษา เรื่อง ครูขาดทักษะการใชนวัตกรรมและเทคโนโลย

 

เหตุผลในการศึกษา
ในปัจจุบันนี้เทคโนโลยีมีความก้าวหน้าจากเดิม ซึ่งมีบทบาทสาคัญในทุกๆองค์กร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระบบการศึกษาเพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนให้พร้อมกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญควบคู่กับการนาเทคโนโลยีมาใช้ให้เต็มประสิทธิภาพในการจัดการเรียนรู้ ซึ่งปัญหาที่พบคือผู้สอนไม่สามารถนาเทคโนโลยีมาใช้ให้เต็มประสิทธิภาพได้ ขาดทักษะและกระบวนการการใช้ จึงทาให้ผู้สอนและผู้เรียนขาดการเรียนรู้ในการค้นหาสิ่งใหม่ๆ ขาดการฝึกฝนและก้าวตามให้ทันเทคโนโลยีที่มีเข้ามาใหม่อยู่เสมอ ซึ่งผู้จัดทาเล็งเห็นความสาคัญในปัญหานี้ จึงเลือกมาเป็นกรณีศึกษาในครั้งนี้


1. ขั้นรวบรวมข้อมูล
ประวัติบุคคลผู้ให้ข้อมูล
ครูสถาพร ปิ่นทอง (มิตร) อายุ 28 ปี โรงเรียนบางกอกวิทยา จังหวัดกรุงเทพมหานคร


2. ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล
สมมติฐานขั้นต้น
จากการสัมภาษณ์ ครู สถาพร ปิ่นทอง อย่างไม่เป็นทางการในกรณีศึกษา ครูกับปัญหาการใช้เทคโนโลยี นวัตกรรม ของเด็กมัธยมศึกษาตอนปลาย ผู้ให้สัมภาษณ์ให้ข้อมูลกับผู้ศึกษาโดยตั้งสมมติฐานขั้นต้นว่า ถ้าหากผู้สอนใช้เทคโนโลยีได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ฝึกฝนให้เกิดความชานาญและก้าวตามให้ทันเทคโนโลยีใหม่ๆพร้อมทั้งฝึกฝนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ฝึกฝนโดยมีผู้สอนให้คาปรึกษาและชี้แนะให้ผู้เรียนสนุกกับการเรียนรู้เทคโนโลยีจะทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างเต็มที่


3. ขั้นวินิจฉัยปัญหา
3.1 ผู้สอนไม่มีความเชี่ยวชาญพอในการใช้อุปกรณ์เทคโนโลยี
3.2 ผู้สอนไม่มีความสามารถในการกากับดูแลอุปกรณ์เทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.3 ผู้สอนขาดการพัฒนาทักษะขั้นสูงต่อการใช้อุปกรณ์เทคโนโลยี


4. ขั้นเสนอแนะแนวทางแก้ปัญหา
จากการวินิจฉัยดังกล่าวผู้ศึกษามีข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไขปัญหาดังนี้
4.1 ดาเนินการจัดครูผู้ช่วยสอนฝ่ายสาระสนเทศเพื่อให้การจัดการเรียนรู้ดาเนินไปได้ด้วยดี
4.2 จัดการควบคุมด้วยระบบเฉพาะกาลเช่น Proxy เพื่อควบคุมการเข้าถึงข้อมูลหรือแหล่งข้อมูลที่ไม่เกิดประโยชน์กับผู้เรียนอย่างเคร่งครัด
4.3 ดาเนินการจัดการอบรมให้กับผู้สอนเป็นระยะๆหรือเมื่อมีเทคโนโลยีเกิดขึ้นใหม่เพื่อเป็นการเรียนรู้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด


5. ขั้นติดตามและประเมินผล
หลังจากที่ได้ดาเนินการตามขั้นตอนดังกล่าว ในเรื่องการพัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ของผู้สอนแล้วเกิดผลดังนี้
5.1 โรงเรียนได้จัดโครง หมอคอมฯ ทาให้การเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีมีคุณภาพมากขึ้น
5.2 หลังจากที่ผู้สอนได้นาระบบ Proxy มาใช้ ส่งผลให้สามารถจากัดการเข้าถึงสื่อที่ไม่เหมาะสม จึงทาให้การจัดการเรียนรู้เป็นไปตามแผนการจัดการเรียนรู้ของผู้สอนมากขึ้น
5.3 โรงเรียนมีการจัดการฝึกอบรม สัมมนา รวมถึงการส่งผู้สอนเข้ารับการอบรมจากภายนอก จึงทาให้ผู้สอนมีทักษะการใช้เทคโนโลยีมากขึ้นเพื่อนามาประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น


6. คณะผู้จัดทา
คณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณ ครูสถาพร ปิ่นทอง โรงเรียนบางกอกวิทยา จังหวัดกรุงเทพมหานคร ที่ได้ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้จัดทา โดยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะสามารถนากรณีศึกษานี้ไปใช้ในการพัฒนาด้านการศึกษาของไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
คณะผู้จัดทา
1. นายนนทิวัฒน์ เดชขันธ์ เลขที่ 34
2. นายปฐมเดช สุขศิริ เลขที่ 44
3. นางสาวปิยะมาศ ชินทศักดิ์ เลขที่ 45
4. นางสาวศิริลักษณ์ อุทัยวัฒน์ เลขที่ 46
5. นายสถาพร ปิ่นทอง เลขที่ 48

 

 

bottom of page